๑. |
ผู้หมั่นเจริญกัมมัฏฐาน ย่อมได้รับประโยชน์อย่างไร ? |
|
ก. |
มีสุขภาพดี |
ข. |
ทำงานอย่างมีสติ |
|
ค. |
นอนหลับง่าย |
ง. |
ผิวพรรณผ่องใส |
|
|
|
|
|
๒. |
ผู้เริ่มเจริญกัมมัฏฐาน ควรเลือกสถานที่เช่นไร ? |
|
ก. |
ในอุโบสถ |
ข. |
ป่าช้า |
|
ค. |
ที่สงบเงียบ |
ง. |
ที่ใดก็ได้ |
|
|
|
|
|
๓. |
ข้อใดเป็นอาการเบื้องต้นในการเจริญอานาปานสติ ? |
|
ก. |
นั่งกายตรงกำหนดลม |
ข. |
นั่งกายตรงภาวนา “พุทโธ” |
|
ค. |
นั่งกายตรงพิจารณาลม |
ง. |
นั่งกายตรงดำรงสติมั่น |
|
|
|
|
|
๔. |
ผลของการเจริญวิปัสสนาเบื้องต้นคืออะไร ? |
|
ก. |
จิตผ่องใส |
ข. |
ความจำดี |
|
ค. |
มีเหตุผล |
ง. |
รู้อดีตอนาคต |
|
|
|
|
|
๕. |
การเจริญวิปัสสนา เป็นเหตุให้รู้แจ้งอะไร ? |
|
ก. |
สภาวธรรม |
ข. |
คำสั่งสอน |
|
ค. |
อภิญญา |
ง. |
ไตรเพท |
|
|
|
|
|
๖. |
ผลสูงสุดแห่งการเจริญวิปัสสนา คือข้อใด ? |
|
ก. |
ละนิวรณ์ได้ |
ข. |
ละกามคุณได้ |
|
ค. |
ละความยึดมั่นได้ |
ง. |
สำเร็จเป็นพระโสดาบัน |
|
|
|
|
|
๗. |
สิ่งที่ทำให้สัตว์ต้องข้องอยู่ในโลก เรียกว่าอะไร ? |
|
ก. |
กาม |
ข. |
กิเลส |
|
ค. |
ภพ |
ง. |
ชาติ |
|
|
|
|
|
๘. |
ข้อใด ไม่ใช่กิเลสกาม ? |
|
ก. |
ราคะ |
ข. |
โทสะ |
|
ค. |
อิจฉา |
ง. |
อิสสา |
|
|
|
|
|
๙. |
ข้อใด เป็นปฏิบัติบูชาแท้จริง ? |
|
ก. |
ตักบาตรทุกเช้า |
ข. |
ถวายสังฆทานทุกวัน |
|
ค. |
ฟังเทศน์เป็นประจำ |
ง. |
ทำความดีตลอดเวลา |
|
|
|
|
|
๑๐. |
คำว่า “ทำให้ชีวิตก้าวหน้า พาไปสู่สวรรค์ ป้องกันภัยพิบัติ
กำจัดสรรพกิเลส” เป็นอานิสงส์ของข้อใด ? |
|
ก. |
กัมมัฏฐาน |
ข. |
ทาน |
|
ค. |
ศีล |
ง. |
บูชา |
|
|
|
|
|
๑๑. |
ผู้มีปฏิสันถารดี ย่อมมีบุคลิกภาพเช่นไร ? |
|
ก. |
ต้อนรับด้วยอาหารน้ำดื่ม |
ข. |
กล่าวธรรมให้ฟัง |
|
ค. |
ใจเย็น หน้ายิ้ม อารมณ์ดี |
ง. |
หัวเราะอยู่เสมอ |
|
|
|
|
|
๑๒. |
ผู้ทำการต้อนรับในข้อใด ชื่อว่าปฏิบัติธรรมปฏิสันถาร ? |
|
ก. |
ต้อนรับด้วยอาหารน้ำดื่มเป็นต้น |
ข. |
ต้อนรับตามสมควรแก่ฐานะ |
|
ค. |
ต้อนรับโดยการแนะนำ
ประโยชน์ให้ |
ง. |
ข้อ ข. และข้อ ค. ถูก |
|
|
|
|
|
๑๓. |
เจตสิกสุข คือสุขทางใจ มีลักษณะเช่นไร ? |
|
ก. |
สุขเพราะได้ลาภลอย |
ข. |
สุขเพราะได้รับมรดก |
|
ค. |
สุขเพราะได้เลื่อนยศ |
ง. |
สุขเพราะไม่ถูกกิเลสครอบงำ |
|
|
|
|
|
๑๔. |
คนถูกกามวิตกครอบงำ มักมีพฤติกรรมเช่นไร ? |
|
ก. |
อยากได้ของคนอื่น |
ข. |
ถ่ายรูปอนาจาร |
|
ค. |
วางแผนต้มตุ๋น |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๑๕. |
พฤติกรรมฆ่ารายวัน สงเคราะห์เข้าในอกุศลวิตกใด ? |
|
ก. |
กามวิตก |
ข. |
พยาบาทวิตก |
|
ค. |
วิหิงสาวิตก |
ง. |
ข้อ ข.และข้อ ค.ถูก |
|
|
|
|
|
๑๖. |
ความดำริในเรื่อง “สมานฉันท์” จัดเป็นกุศลวิตกใด ? |
|
ก. |
เนกขัมมวิตก |
ข. |
อัพยาบาทวิตก |
|
ค. |
อวิหิงสาวิตก |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๑๗. |
ความดำริให้อภัยมีเมตตาไม่เบียดเบียนกัน เป็นกุศลวิตกใด ? |
|
ก. |
เนกขัมมวิตก |
ข. |
อัพยาบาทวิตก |
|
ค. |
อวิหิงสาวิตก |
ง. |
ข้อ ข. และข้อ ค. ถูก |
|
|
|
|
|
๑๘. |
ผู้มีพฤติกรรมเช่นใด ชื่อว่าถูกไฟคือโมหะแผดเผา ? |
|
ก. |
ข่มขืนแล้วฆ่า |
ข. |
หงุดหงิดฉุนเฉียว |
|
ค. |
ยกพวกตีกัน |
ง. |
ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์ขอหวย |
|
|
|
|
|
๑๙. |
เหตุใด ราคะ โทสะ โมหะ จึงเรียกว่าไฟ ? |
|
ก. |
เพราะทำให้เครียด |
ข. |
เพราะทำให้ใจเร่าร้อน |
|
ค. |
เพราะทำให้กายร้อน |
ง. |
เพราะทำให้เกิดโรค |
|
|
|
|
|
๒๐. |
ประชาธิปไตยจะสมบูรณ์ ต้องมีธรรมอะไรเป็นพื้นฐาน ? |
|
ก. |
อัตตาธิปเตยยะ |
ข. |
โลกาธิปเตยยะ |
|
ค. |
ธัมมาธิปเตยยะ |
ง. |
ข้อ ข. และข้อ ค.รวมกัน |
|
|
|
|
|
๒๑. |
เผด็จการทุกรูปแบบ ตรงกันข้ามกับอธิปเตยยะใด ? |
|
ก. |
อัตตาธิปเตยยะ |
ข. |
โลกาธิปเตยยะ |
|
ค. |
ธัมมาธิปเตยยะ |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๒๒. |
“แย่งอาหารกันกิน แย่งถิ่นกันอยู่ แย่งคู่กันพิศวาส
แย่งอำนาจกันครอง” จัดเป็นตัณหาอะไร ? |
|
ก. |
กามตัณหา |
ข. |
ภวตัณหา |
|
ค. |
วิภวตัณหา |
ง. |
กามตัณหาและภวตัณหา |
|
|
|
|
|
๒๓. |
ความอยากได้อิฏฐารมณ์ เรียกว่าอะไร ? |
|
ก. |
กามตัณหา |
ข. |
ภวตัณหา |
|
ค. |
วิภวตัณหา |
ง. |
กิเลสตัณหา |
|
|
|
|
|
๒๔. |
ปฏิบัติอย่างไร ชื่อว่าปฏิบัติครบทั้ง ๓ ปิฎก ? |
|
ก. |
รักษากายไม่ให้วิปริต |
ข. |
รักษาจิตอย่าให้วิปลาส |
|
ค. |
วาจามีศีลสุขล้ำ |
ง. |
ทั้ง ๓ ข้อรวมกัน |
|
|
|
|
|
๒๕. |
วัฏฏะ วนหรือหมุน หมายเอาอาการเช่นไร ? |
|
ก. |
การหมุนไปแห่งธรรม |
ข. |
การเวียนศพรอบเมรุ |
|
ค. |
การแก่ เจ็บ ตาย |
ง. |
การเวียนว่ายตายเกิด |
|
|
|
|
|
๒๖. |
“กรรมใดใครก่อ กรรมนั้นย่อมตามสนอง” ตรงกับวัฏฏะข้อใด ? |
|
ก. |
กิเลส |
ข. |
กรรม |
|
ค. |
วิบาก |
ง. |
สงสาร |
|
|
|
|
|
๒๗. |
ผู้ถือว่า “แมว ๕ หมา ๖” เลี้ยงไว้เป็นอัปมงคล ต้องนำไปปล่อยวัด
จัดเป็นคนจริตอะไร ? |
|
ก. |
สัทธาจริต |
ข. |
โมหจริต |
|
ค. |
พุทธิจริต |
ง. |
ราคจริต |
|
|
|
|
|
๒๘. |
ข้อใด เป็นความหมายที่แท้จริงของสิกขา ๓ ? |
|
ก. |
การศึกษาเล่าเรียนทั่วไป |
ข. |
การเรียนพระพุทธพจน์ |
|
ค. |
การฝึกฝนพัฒนา |
ง. |
การท่องจำพระไตรปิฎกได้ |
|
|
|
|
|
๒๙. |
สาระสำคัญของการศึกษาสิกขา ๓ คืออะไร ? |
|
ก. |
ทำให้เป็นมนุษย์สมบูรณ์ |
ข. |
ทำให้โลกสงบร่มเย็น |
|
ค. |
ทำให้โลกเจริญก้าวหน้า |
ง. |
ทำให้โลกทันสมัย |
|
|
|
|
|
๓๐. |
เหตุใด คนสมัยนี้จึงคอร์รัปชั่นมากขึ้นทุกวัน ? |
|
ก. |
เพราะกิเลสมาก |
ข. |
เพราะบาปมาก |
|
ค. |
เพราะตัณหามาก |
ง. |
เพราะโลภมาก |
|
|
|
|
|
๓๑. |
พิจารณาแล้วอดกลั้น ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
งดเหล้าเข้าพรรษา |
ข. |
เดินตามหลังผู้ใหญ่หมาไม่กัด |
|
ค. |
อดเปรี้ยวไว้กินหวาน |
ง. |
เวรระงับด้วยการไม่จองเวร |
|
|
|
|
|
๓๒. |
ทำอย่างไร จึงจะไม่ริษยาผู้อื่น ? |
|
ก. |
หมั่นแผ่เมตตา |
ข. |
หมั่นแผ่กรุณา |
|
ค. |
หมั่นเจริญมุทิตา |
ง. |
หมั่นเจริญอุเบกขา |
|
|
|
|
|
๓๓. |
อัปปมัญญาข้อใด เป็นคุณให้เกิดความเที่ยงธรรม ? |
|
ก. |
เมตตา |
ข. |
กรุณา |
|
ค. |
มุทิตา |
ง. |
อุเบกขา |
|
|
|
|
|
๓๔. |
เมื่อมีคนอื่นโกรธเรา ควรปฏิบัติอย่างไร ? |
|
ก. |
ไม่โกรธตอบ |
ข. |
แผ่เมตตาให้เสมอ |
|
ค. |
หมั่นทำดีไว้ |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๓๕. |
พุทธบริษัทเช่นไร ควรเรียกว่า “ใกล้เกลือกินด่าง” ? |
|
ก. |
เชื่อเรื่องทรงเจ้าเข้าผี |
ข. |
เชื่อเรื่องเสน่ห์ยาแฝด |
|
ค. |
เชื่อสิ่งศักดิ์สิทธิ์บันดาล |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๓๖. |
ผู้ใดอุปมาเหมือนดอกบัวเสมอน้ำ จักบานในวันพรุ่ง ? |
|
ก. |
ผู้พอแนะนำได้ |
ข. |
ผู้รู้ธรรมพอยกหัวข้อแสดง |
|
ค. |
ผู้จำได้เฉพาะบท |
ง. |
ผู้รู้ธรรมเมื่ออธิบายความ |
|
|
|
|
|
๓๗. |
ในอนุปุพพีกถา ทรงยกทานกถาขึ้นแสดงก่อน เพื่อพระประสงค์์ใด ? |
|
ก. |
เพื่อสละความเห็นแก่ตัว |
ข. |
เพื่อเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ผู้อื่น |
|
ค. |
เพื่อขจัดความตระหนี่ |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๓๘. |
“บูชาพระคุณ ค้ำจุนพระศาสนา พาสู่ความสงบ จบแค่นิพพาน”
เป็นอนุปุพพีกถาข้อใด ?
|
|
ก. |
ทานกถา |
ข. |
ศีลกถา |
|
ค. |
สัคคกถา |
ง. |
เนกขัมมานิสังสกถา |
|
|
|
|
|
๓๙. |
“โตงเตงโตงเต้า กินแต่ของเขา ของเราเก็บไว้” เป็นพฤติกรรม
ของคนเช่นไร ? |
|
ก. |
คนตระหนี่ |
ข. |
คนเห็นแก่ตัว |
|
ค. |
คนประหยัด |
ง. |
คนมักน้อย |
|
|
|
|
|
๔๐. |
ข้อใด เป็นอาวาสมัจฉริยะ ? |
|
ก. |
รังเกียจคนต่างชาติ |
ข. |
ไม่อยากแต่งงานด้วย |
|
ค. |
หวงแหนศิลปวิทยา |
ง. |
ไม่อยากให้คนอื่นดีกว่า |
|
|
|
|
|
๔๑. |
เกิดโรคร้าย จนเป็นเหตุถึงกับฆ่าตัวตาย เพราะถูกมารใดครอบงำ ? |
|
ก. |
มารคือปัญจขันธ์ |
ข. |
มารคือกิเลส |
|
ค. |
มารคือความตาย |
ง. |
มารคือเทวบุตร |
|
|
|
|
|
๔๒. |
ฆ่ากันทุกวันเพื่อเอาชนะ เป็นพฤติกรรมของคนจริตอะไร ? |
|
ก. |
คนโทสจริต |
ข. |
คนโมหจริต |
|
ค. |
คนวิตักกจริต |
ง. |
คนสัทธาจริต |
|
|
|
|
|
๔๓. |
เมื่อผู้น้อยไม่ได้สิ่งที่ตนปรารถนา จึงโกรธนินทาผู้ใหญ่
เพราะมีจริตอะไร ? |
|
ก. |
ราคจริต |
ข. |
โทสจริต |
|
ค. |
โมหจริต |
ง. |
ทั้ง ๓ จริตระคนกัน |
|
|
|
|
|
๔๔. |
“วิชาเป็นอำนาจ มารยาทเป็นเสน่ห์” สงเคราะห์เข้าในข้อใด ? |
|
ก. |
อรหํ |
ข. |
สมฺมาสมฺพุทฺโธ |
|
ค. |
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน |
ง. |
สุคโต |
|
|
|
|
|
๔๕. |
พระสงฆ์ปฏิบัติอย่างไร จึงเป็นนาบุญยอดเยี่ยมของโลก ? |
|
ก. |
เป็นผู้ปฏิบัติดี |
ข. |
เป็นผู้ควรของคำนับ |
|
ค. |
เป็นผู้ควรของต้อนรับ |
ง. |
เป็นผู้ควรของทำบุญ |
|
|
|
|
|
๔๖. |
ตั้งใจเลิกสิ่งเสพติด งดเหล้าเข้าพรรษา ชื่อว่าบำเพ็ญบารมีใด ? |
|
ก. |
ขันติบารมี |
ข. |
ศีลบารมี |
|
ค. |
อธิษฐานบารมี |
ง. |
อุเบกขาบารมี |
|
|
|
|
|
๔๗. |
เมื่อชีวิตเกิดอุปสรรค ตั้งใจว่า “ชีวิตยังมีอยู่ ต้องสู้ต่อไป”
ชื่อว่าบำเพ็ญบารมีใด ? |
|
ก. |
ขันติบารมี |
ข. |
วิริยบารมี |
|
ค. |
เมตตาบารมี |
ง. |
สัจจบารมี |
|
|
|
|
|
๔๘. |
“ยามบุญมาวาสนาช่วย ที่ป่วยก็หาย ที่หน่ายก็รัก”
ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
กุศลชนกกรรม |
ข. |
กุศลอุปัตถัมภกกรรม |
|
ค. |
กุศลอาสันนกรรม |
ง. |
กุศลอาจิณณกรรม |
|
|
|
|
|
๔๙. |
“ยังไม่ถึงที่ตายไม่วายชีวาวาตม์ ....” เพราะกรรมใดกำลังให้ผล ? |
|
ก. |
ชนกกรรม |
ข. |
อุปัตถัมภกกรรม |
|
ค. |
อาสันนกรรม |
ง. |
พหุลกรรม |
|
|
|
|
|
๕๐. |
อโหสิกรรม ในคำว่า “รดน้ำศพอโหสิกรรมแก่ผู้ตาย”
หมายความว่าอย่างไร ? |
|
ก. |
ให้อภัยไม่จองเวร |
ข. |
ขอให้ไปสู่ที่ชอบ |
|
ค. |
อย่ามีทุกข์เลย |
ง. |
หมดกรรมเสียที |
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
เอกสารอ้างอิง |
|
|
|
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๘. หน้า |
|
|
|
|
|